Page 15 - น้ำอภิเษก พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒
P. 15
ี
ี
ี
สมัยอยุธยำ ปรำกฏหลักฐำนเก่ยวกับพระรำชพิธีบรมรำชำภิเษกท่ช่วยให้ข้อมูลเก่ยวกับกำรพระรำชพิธ ี
ชัดเจนขึ้นกว่ำหลักฐำนประเภทศิลำจำรึก เช่นค�ำให้กำรชำวกรุงเก่ำกล่ำวถึงขั้นตอนของพระรำชพิธีนี้ว่ำ
“...พระเจากรุงศรีอยุธยาจึงโปรดใหเอาไมมะเด่อน้น มาทําต่งสําหรับประทับสรง
ื
ั
ั
พระกระยาสนานในการมงคล เชนพระราชพิธีราชาภิเศกเปนตน พระองคยอมประทับเหนือ
ี
พระท่นั่งตั่งไมมะเด่อ สรงพระกระยาสนานกอนแลว (จึงเสด็จไปประทับพระท่นั่งภัทรบิฐ)
ื
ี
มุขอํามาตยถวายเคร่องเบ็ญจราชกกุธภัณฑ คือ พระมหามงกุฎ ๑ พระแสงขรรค ๑
ื
พัดวาลวิชนี ๑ ทานพระกร ๑ ฉลองพระบาทคู ๑ ขณะนั้นพราหมณปุโรหิตก็ถวายพระพร
แลเปาสังขทักขิณาวัฏ เจาพนักงานตีกลองอินทเภรีและชาวประโคมเคร่องเบ็ญจดุริยางค
ื
ึ
ขนพรอมกน แลวพระเจาแผนดนเสดจออกประทบราชบลลงก อนปลาดดวยหนังพระยา
้
ั
ั
็
ั
ั
ิ
ู
ั
ู
ั
ี
ั
ี
ราชสห เสนาพฤฒามาตยเฝาทลละอองธุลพระบาทพรอมกน ถวายพระนามอนจาฤกใน
พระสุพรรณบัฏ มีกรอบประดับดวยแกวมณี แลมีพานทองรองรับ...”
(ค�ำให้กำรชำวกรุงเก่ำฯ : ๒๔๕๗, หน้ำ ๒๔๔)
ื
ี
เอกสำรท่กล่ำวถึงแบบแผนรำยละเอียดของกำรพระรำชพิธีบรมรำชำภิเษกปรำกฏในสมัยอยุธยำ เร่อง
ื
แรกคือ ปญจรำชำภิเษก (เร่องรำชำภิเษก, ๒๔๗๙, หน้ำ ๑-๙) มีเนื้อหำว่ำด้วยกำรรำชำภิเษก ๕ ประเภท และ
ควำมหมำยของเรื่องบรมรำชำภิเษก เรื่องที่สองคือ รำชำภิเษกครั้งกรุงศรีอยุธยำ (เรื่องรำชำภิเษก, ๒๔๗๙,
หน้ำ ๙-๑๖) มีเนื้อหำว่ำด้วยแบบแผนกำรพระรำชพิธีบรมรำชำภิเษกครั้งอยุธยำตอนปลำย
สมัยธนบุรี ไม่ปรำกฏหลักฐำนกำรประกอบกำรพระรำชพิธีบรมรำชำภิเษก สันนิษฐำนว่ำประกอบ
็
ั
พิธีอย่ำงสังเขปอนุโลมตำมแบบอย่ำงเม่อครงสมยสมเดจพระเจ้ำอย่หวบรมโกศแห่งกรุงศรอยุธยำ เพรำะ
ี
ู
้
ั
ื
ั
บ้ำนเมืองอยู่ในภำวะสงครำม
สมัยรัตนโกสินทร์ พุทธศักรำช ๒๓๒๖ พระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟำจุฬำโลกมหำรำชโปรดให้
ั
ข้ำรำชกำรผู้รู้ขนบธรรมเนียมประเพณีในพระรำชส�ำนักคร้งกรุงเก่ำ มีเจ้ำพระยำเพชรพิชัยเป็นประธำน
ประชุมปรึกษำหำรือกับสมเด็จพระสังฆรำชและพระรำชำคณะผู้ใหญ่ร่วมกันสอบสวนตรวจสอบต�ำรำว่ำด้วย
กำรรำชำภิเษกในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้ำอุทุมพร แล้วแต่งเรียบเรียงข้นไว้เป็นต�ำรำ เรียกว่ำ “ต�ำรำรำชำภิเษก
ึ
ี
ี
ั
ี
คร้งกรุงศรีอยุธยำส�ำหรับหอหลวง” นับเป็นต�ำรำเก่ยวกับกำรรำชำภิเษกท่เก่ำแก่ท่สุดท่พบหลักฐำนในปจจุบัน
ี
ตำมต�ำรำปญจรำชำภิเษก กล่ำวว่ำ กำรรำชำภิเษก แบ่งออกเป็น ๕ ลักษณะ คือ
๑. มงคลอินทรำภิเษก คือ ผู้ท่ปกครองแผ่นดินได้เข้ำพิธีรำชำภิเษก มีพระอินทร์น�ำเคร่อง
ื
ี
ิ
ปญจกกุธภัณฑ์มำถวำย โดยมีบุษยพระพิชัยรำชรถกับฉัตรทิพย์ได้บังเกิดข้น กำรมีส่งมงคล ๓ ประกำรน ี ้
ึ
เรียกว่ำ อินทรำภิเษก
๒. มงคลโภคำภิเษก คือ ผู้ที่จะเข้ำพิธีรำชำภิเษก มีเชื้อสำยเป็นตระกูลพรำหมณ์ที่เป็นมหำเศรษฐี
มีสมบัติบริวำรมำก รู้จักรำชธรรม ตรำชูธรรม กับทศกุศลผล และรู้จักแบ่งปนตัดรอนทุกข์ของรำษฎร เรียกว่ำ
โภคำภิเษก
14 น�้ำอภิเษก